วันศุกร์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556
สัญลักษณ์ของโฟลว์ชาร์ต
รูปข้างบนเป็นสัญลักษณ์ ที่ใช้ทำโฟลว์ชาร์ต เราจะเริ่มต้นการเขียนโฟลว์ชาร์ตด้วย สัญลักษณ์
สัญลักษณ์ เริ่มต้น ที่มันคล้ายๆกับวงรี(terminal) เอาไว้เริ่มปรแก รมกับจบโปรแกรมถ้าอยู่ใน ฟังก์ชันย่อย สัญลักษณ์วงรี(ขอเรียกแบบนี้ละกัน)ก็จะเป็นชื่อของฟังชันย่อย และ ถ้ามีการ คืนค่ากลับ ก็จะใช้สัญลักษณ์เดียวกันในการเขียนการคืนค่า ถ้าไม่คืนค่า ก็จะใส่ end"ในวงรีตอนจบโปรแกรม
สัญลักษณ์ การการนำเข้า/นำออกข้อมูล เอาใส่ตรงที่เอารับค่าจากผู้ใช้เข้ามาหรือพูดง่ายๆถ้าต้องการ input ก็ให้ใส่ และเอาไว้ใส่ตอนแแสดงข้อมูล ก็เวลาจะโชว์อะไร ก็ให้ใส่อันนี้เลย
สัญลักษณ์ การตัดสินใจ แยกย่อยได้ 2 แบบ
-วนทำจนกว่าจะเงื่อนไขจะเป็นเท็จ (loop)
อันที่ จะใส่เงื่อนไขให้ทำเมื่อ.......... เช่น ทำในขณที่ ตัวแปร i น้อยกว่า 10(ใช้ตัวแปร i เป็นตัววนรอบ) เมื่อทำได้ 1 รอบ ก็ต้องเพิ่มค่าให้กับตัวแปรที่ใช้วนรอบด้วย โดยจะใช้กับคำสั่งประเภท while for do while
-เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง (select)
ให้เลือกทำโดยมีเงื่อนไขบอกไว้ อันนี้จะแยกออกเป็นสองทางเลยและส่วนใหญ่จะไม่ต้องเพิ่มค่าให้ตัวแปรเหมือนกับ loop โดยจะใช้กับคำสั่งประเภท if else
สัญลักษณ์ ปฏิบัติงาน คือเวลาต้องการให้มันทำอะไรก็ใส่ไอ้นี้เลย คือถ้าไม่เข้าเงื่อนข้างบนใส่ไอ้หมดเลย ครับ
สัญลักษณ์ต่อจุด ก็ตรงตัวเลยครับ
ขอขอบคุณ http://krusunanta.net ที่มาของรูปภาพ
อัลกอริทึ่ม
อัลกอริทึ่ม เป็น ภาษาอักกฤษซึ่งภาษาไทยเรียกว่า ขั้นตอนวิธี ก่อนที่เราจะเขียนโปรแกรมเราก็ต้องคิดอัลกอริทึ่มก่อน ซึ่งอัลกอริทึ่มที่คิดนั้นจะเป็นการคิดว่าในโปรแกรมของเราจะทำอะไรบ้าง เริ่มตั่งแต่เริ่มโปรแกรมจนถึงจบโปรแกรม
หากเริ่มเขียนโปรแกรมใหม่ๆก็ควรซ้อมมือด้วยการฝึกคิดอัลกอริทึ่มก็พอ ยังไม่ต้องเขียนเป็นโปรแกรมออกมาก็ได้ รูปแบบที่ใช้เขียนอัลกอริทึ่มที่เราคิดออกมาจะมีอยู่ 2 แบบคือ
1.ทำในรูปของโฟล์วชาร์ต
2.ทำในรูปของคำสั่งเทียม
วันนี้เราจะมาดูอัลกอริทึ่มแบบง่ายๆกันนะครับ นั่นก็คือ อัลกอริทึ่มของการต้มมาม่า
หากเริ่มเขียนโปรแกรมใหม่ๆก็ควรซ้อมมือด้วยการฝึกคิดอัลกอริทึ่มก็พอ ยังไม่ต้องเขียนเป็นโปรแกรมออกมาก็ได้ รูปแบบที่ใช้เขียนอัลกอริทึ่มที่เราคิดออกมาจะมีอยู่ 2 แบบคือ
1.ทำในรูปของโฟล์วชาร์ต
2.ทำในรูปของคำสั่งเทียม
วันนี้เราจะมาดูอัลกอริทึ่มแบบง่ายๆกันนะครับ นั่นก็คือ อัลกอริทึ่มของการต้มมาม่า
รูป โฟล์วชาร์ตของการต้มมาม่า
ครับสำหรับการต้มมาม่าก็ไม่มีไรมากเลยครับ ซึ่งถ้าถามเด็กประถมบอกให้วิธีการต้มมาม่า(เด็กคงหัวเราะอีก โตเป็นควายเเล้วยังต้มมาม่าไม่เป็นอีกหรอ) เด็กก็คงบอกได้อย่างง่ายดาย แต่ถ้าลองเอามาเขียนเป็นโฟล์วชาร์ตนี้ซิ แรกๆผมตอนผมทำ ผมก็ตึบเลย รู้นะว่าต้มมาม่ามันง่าย ง่ายน้อยกว่าปลอกกล้วยเข้าปากนิดหนึ่ง แต่การที่จะเอามาเขียนในโฟล์วชาร์ตนีซิไปไม่เป็นเลยครับ กลับกลายเป็นเรื่องที่ยาก
ที่ยากไม่ใช่ว่าเรียงลำดับวิธีการทำไม่เป็นนะครับ แต่ไม่รู้ว่าจะเอาอะไรมาใส่ในโฟล์วชาร์ต ไอ้เราก็ไม่รู้ว่าสัญาลักษณ์เขาเอาไว้ใช้ทำอะไรบ้าง กลายเป็นแค่วิธีต้มมาม่าก็ทำไม่เป็น จากรูปข้างบนก็จะรู้เลยว่าโฟล์วชาร์ตของการต้มมาม่านั้นไม่ยากเลยครับ
และวันหลังผมจะหาสัญญาลักษณ์ของโฟล์วชาร์ต มาให้นะครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)