วันพฤหัสบดีที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2557

อาเรย์

อาเรย์ คือ ชุดข้อมูลชนิดเดียวกันหลายๆจำนวน ขนาดของข้อมูลจะมีค่าเท่ากับขนาดของอาเรย์ที่จองไว้ในตอนที่ประกาศตัวแปร
สมมติว่าประกาศ int Arr[5]={1,2,3,4,5};
จะได้ค่าดังนี้

Arr[0]               Arr[1]                 Arr[2]                   Arr[3]             Arr[4]
1
2
3
4
5


การที่จะใช้อาเรย์แต่ละครังเราจะต้องระบุตำแหน่งของอาเรย์
 เช่น Arr[0]=1 ค่าตำแหน่งที่ ของอาเรย์ Arr มีค่าเท่ากับ 1







วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2557

โปรแกรมสูตรคูณ

code โปรแกรม สูตรคูณ
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
void main(){
int value;
printf("input multiplication value:");
scanf("%d",&value);
        for(int i=1;i<=12;i++){
                printf("%d x %d\t=%5d\n",value,i,value*i);
        }
getch();
}


ผลการรันโปรแกรม

โปรแกรมสูตรคูณเป็นการเขียนโปรแกรม วนลูปเพียงลูปเดียว หลักการทำงานคือการรับค่าเข้ามา 1 ค่าแล้วทำการวนลูปคูณกับค่า 1-12 แล้วก่อแสดงค่าออกมา

วันอังคารที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การประกาศตัวแปร

               การเขียนโปรแกรมทุกๆภาษา จำเป็นต้องมีตัวแปรไว้ เพื่อสำหรับการเก็บค่าและจัดการกับค่าดังกล่าวผ่านตัวแปร 

               ชนิดของตัวแปรในภาษาซี
ที่มาของรูป http://www.eng.su.ac.th/ee/618240/variable.html



              ในภาษาซีจะไม่สามารถนำคำสงวนมาตั้งชื่อเป็นตัวแปรได้ คำสงวนในภาษาซี มีดังต่อไปนี้                                                                                                                   

ที่มาของรูป http://www.lks.ac.th/anchalee/c_reserb.htm


ตัวอย่างการประกาศตัวแปร
int i=0;  ประกาศให้ตัวแปร i เป็นจำนวนเต็ม มี่ค่า เริ่มต้นเท่ากับ 0
float area=5.5 ประกาศให้ตัวแปร area เป็นทศนิยม มี่ค่าเริ่มต้นเท่ากับ 5.5
char name[9]="MoomMarm" ประกาศให้ตัวแปร name เก็บค่าข้อความว่า"MoomMarm"  จะต้องประกาศขนาดของตัวแปรให้มีมากกว่าข้อความ 1 ค่า